ตั้งใจสอบกันน๊า เด็กๆๆ^^
Portfolio of Science Experiences Management for Early Childhood
วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
เรียนชดเชย 28/07/56
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำเสนอสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์โดยเพื่อนๆได้ออกมานำเสนอสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์มีทั้งหมดดังนี้
1.ไก่กระต๊าก
2.เป่าหลอดลูกบอล
3.ลูกข่างกระดาษ
4.กังหันลมจิ๋ว
5.คอปเตอร์จากไม้ไอติม
6.ลูกโป่งโบวลิง
7.โยโย่กระดาษ
8.ลูกข่างแผ่นซีดี
9.เรือพลังยาง
10รถไถจากหลอดได้
1.ไก่กระต๊าก
2.เป่าหลอดลูกบอล
3.ลูกข่างกระดาษ
4.กังหันลมจิ๋ว
5.คอปเตอร์จากไม้ไอติม
6.ลูกโป่งโบวลิง
7.โยโย่กระดาษ
8.ลูกข่างแผ่นซีดี
9.เรือพลังยาง
10รถไถจากหลอดได้
ประมวลภาพกิจกรรมในวันนี้
ซึง่ในวันนี้ดิฉันได้ออกไปนำเสนอสื่อ "สามใบพัด" แต่อาจารย์บอกว่าวิธีการทำมันคล้ายกับของพื่อนที่ทำ "กังหันลมจิ๋ว" อาจารย์จึงให้กลับมาคิดสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ใหม่ โดยสื่อที่ดิฉันคิดมาใหม่ก็คือ
สื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ "ประทัดกระดาษ" มีขั้นตอนในการทำดังต่อไปนี้
วัสดุ/อุปกร์
1.กระดาษA4 หรือ จะเป็นแบบรีไซเคิลก็ได้จำนวน 1 แผ่น
2.ปากกาเคมีสีต่างๆเพื่อใช้ในการตกแต่งให้สวยงาม
มีวิธีการทำดังต่อไปนี้
หลักการและเหตุผล
เนื่องจากเสียงในธรรมชาติเกิดจากการสั่นของวัตถุ การเหวี่ยงประทัดกระดาษทำให้เกิดเสียงดังขึ้น เพราะว่าการสั่นของกระดาษส่วนหนึ่งที่โผล่ออกมาในทันทีขณะที่เรากำลังเหวี่ยงนั้นกระดาษส่วนนี้ได้ไปกระทบกับอากาศอย่างแรงทำให้อากาศมีการสั่น และการสั่นของอากาศนี้เองที่ทำให้หูและส่วนประกอบภายในหูเกิดการได้ยินเสียง
เนื่องจากเสียงในธรรมชาติเกิดจากการสั่นของวัตถุ การเหวี่ยงประทัดกระดาษทำให้เกิดเสียงดังขึ้น เพราะว่าการสั่นของกระดาษส่วนหนึ่งที่โผล่ออกมาในทันทีขณะที่เรากำลังเหวี่ยงนั้นกระดาษส่วนนี้ได้ไปกระทบกับอากาศอย่างแรงทำให้อากาศมีการสั่น และการสั่นของอากาศนี้เองที่ทำให้หูและส่วนประกอบภายในหูเกิดการได้ยินเสียง
วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
เรียนครั้งที่5 15/07/56
วันนี้อาจารย์ได้นัดเรียนชดเชยและให้นักศึกษานำเสนอของเล่นวิทยาศาสรต์ของตนเองและของเล่นที่ดิฉันได้นำมาเสนอคือ "หมึกล่องหน" ซึ่งอาจารย์บอกว่ามันเป็นเรื่องของการทดลอง จึงให้ไปหาของเล่นมาใหม่และเตรียมมาสาธิตการทำและการเล่นในอาทิตย์หน้า
ซึ่่งของเล่นที่เพื่อนนำเสนอมีดังนี้
1.เลี้ยงลูกบอลด้วยลม
2.กังหันลม
3.ไก่กระต๊าก
4.เครื่องบินแรงดันอากาศ
5.เป่าลม
6.ไข่ล้มลุก
7.ปีนขวดน้ำ
8.เรือพลังยาง
9.จานหมุนมีชีวิต
10.กล้องผสมสี
11.ขวดผิวปาก
ซึ่งในวันนี้มีเพื่อนที่ออกมานำเสนอเป็นการทดลองอยู่หลายคน และที่ยังไม่ออกมาน้ำเสนอก็มีอยู่หลายคนเช่นกันอาจารย์เลยให้ความหมายของจองคำว่า "ของเล่นวิทยาศาสตร์" ให้ฟังดังนี้
ของเล่นวิทยศาสตร์ หมายถึง การประดิษฐ์สิ่งของที่เราสามารถเล่นได้ ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และได้รับความรู้จากการเล่น ซึ่งเป็นของเล่นทางวิทยาศาสตร์ที่เด็ก ๆ สามารถทำตามได้ เป็นสิ่งของที่มีความง่ายในการทำ ไม่อันตรายในการทำและการเล่น ซึ่งอาจจะทำด้วยวัสดุเหลือใช้ที่เรามีอยู่แล้วก็ได้ ที่เหลือจากการใช้งานไปแล้ว
ซึ่งสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ที่่ดิฉันหามาใหม่ก็คือ THREE BLADE FAN มีวิธีทำดังเช่นวิดีโอด้านล่างนี้
ซึ่่งของเล่นที่เพื่อนนำเสนอมีดังนี้
1.เลี้ยงลูกบอลด้วยลม
2.กังหันลม
3.ไก่กระต๊าก
4.เครื่องบินแรงดันอากาศ
5.เป่าลม
6.ไข่ล้มลุก
7.ปีนขวดน้ำ
8.เรือพลังยาง
9.จานหมุนมีชีวิต
10.กล้องผสมสี
11.ขวดผิวปาก
ซึ่งในวันนี้มีเพื่อนที่ออกมานำเสนอเป็นการทดลองอยู่หลายคน และที่ยังไม่ออกมาน้ำเสนอก็มีอยู่หลายคนเช่นกันอาจารย์เลยให้ความหมายของจองคำว่า "ของเล่นวิทยาศาสตร์" ให้ฟังดังนี้
ของเล่นวิทยศาสตร์ หมายถึง การประดิษฐ์สิ่งของที่เราสามารถเล่นได้ ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และได้รับความรู้จากการเล่น ซึ่งเป็นของเล่นทางวิทยาศาสตร์ที่เด็ก ๆ สามารถทำตามได้ เป็นสิ่งของที่มีความง่ายในการทำ ไม่อันตรายในการทำและการเล่น ซึ่งอาจจะทำด้วยวัสดุเหลือใช้ที่เรามีอยู่แล้วก็ได้ ที่เหลือจากการใช้งานไปแล้ว
ซึ่งสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ที่่ดิฉันหามาใหม่ก็คือ THREE BLADE FAN มีวิธีทำดังเช่นวิดีโอด้านล่างนี้
วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
เรียนครั้งที่4 08/07/56
วันนี้อาจารย์แจกกระดาษ A4 ให้คนละ 1 แผ่น เพื่อให้ทำสมุดเล่มเล็ก โดยพับกระดาษให้ได้ทั้งหมด 8 ช่อง จากนั้นก็ใช้กรรไกรตัดกระดาษให้ได้ทั้งหมด 8 ใบ และเย็บสันสมุด ก็จะได้ออกมาเป็นสมุดเล็มเล็กดังนี้
จากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาวาดภาพอะไรก็ได้ในหน้าแรก และเปิดหน้าถัดไปวาดรูปให้เหมือนกับหน้าแรก แต่ให้เพิ่มลายละเอียดประกอบขึ้นอีก 1 รายละเอียด โดยจะทำแบบนี้ในหน้าถัดไป ทำเรื่อยๆจนกว่าจะหมดเล่ม จะได้รูปแต่ละหน้าดังนี้
จากนั้นก็ให้นักศึกษาทำการทดลองโดยการเปิดสมุดที่วาดอย่างลวดเร็วติดต่อกันก็จะได้ภาพดังต่อไปนี้
เมื่อจบการทดลองที่หนึ่งแล้วอาจารย์ก็ได้แจกกระดาษ A4 เพิ่ม โดยให้ตัดกระดาษให้ได้ขนาดเท่ากับการทำสมุดเล่มเล็กและแบ่งกับเพื่อนอีก 3 คน ก็จะได้กระดาษคนละ 2 แผ่น ให้วาดภาพในแผ่นที่ 1 ก่อนแล้วก็วาดในแผ่นที่ 2 โดยต้องวาดภาพที่มีความสัมพันธ์กันกับภาพแรกโดยไม่ให้ภาพที่วาดทับลงบนรอยเดิมและนำกระดาษทั้งสองแผ่นติดประกบเข้ากันกับดินสอดังนี้
จากนั้นให้นักศึกษาทำการทดโดยการหมุนดินสอสลับกันไปมาให้เร็วที่สุดก็จะได้ภาพดังงนี้
-ดู มหัศจรรย์ของน้ำ
จากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาวาดภาพอะไรก็ได้ในหน้าแรก และเปิดหน้าถัดไปวาดรูปให้เหมือนกับหน้าแรก แต่ให้เพิ่มลายละเอียดประกอบขึ้นอีก 1 รายละเอียด โดยจะทำแบบนี้ในหน้าถัดไป ทำเรื่อยๆจนกว่าจะหมดเล่ม จะได้รูปแต่ละหน้าดังนี้
จากนั้นก็ให้นักศึกษาทำการทดลองโดยการเปิดสมุดที่วาดอย่างลวดเร็วติดต่อกันก็จะได้ภาพดังต่อไปนี้
เมื่อจบการทดลองที่หนึ่งแล้วอาจารย์ก็ได้แจกกระดาษ A4 เพิ่ม โดยให้ตัดกระดาษให้ได้ขนาดเท่ากับการทำสมุดเล่มเล็กและแบ่งกับเพื่อนอีก 3 คน ก็จะได้กระดาษคนละ 2 แผ่น ให้วาดภาพในแผ่นที่ 1 ก่อนแล้วก็วาดในแผ่นที่ 2 โดยต้องวาดภาพที่มีความสัมพันธ์กันกับภาพแรกโดยไม่ให้ภาพที่วาดทับลงบนรอยเดิมและนำกระดาษทั้งสองแผ่นติดประกบเข้ากันกับดินสอดังนี้
จากนั้นให้นักศึกษาทำการทดโดยการหมุนดินสอสลับกันไปมาให้เร็วที่สุดก็จะได้ภาพดังงนี้
-ดู มหัศจรรย์ของน้ำ
วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
เรียนครั้งที่3 01/07/56
ในวันนี้อาจาจารย์พูดถึงเรื่องของรูปแบบวิธีกในการนำเสนองานที่สอดคล้องและเหมาะสมกับเนื้อหา ซึ่งกลุ่มของดิฉันได้นำเสนอไปในรูปแบบของ "แผนผังความคิด" อาจารย์บอกว่าวิธีนี้ถือว่าเป็นวิธีที่ดี พอใช้ได้ แต่ยังไม่ไม่เห็นถึงสิ่งที่นำเสนออย่างชัดเจน ซึ่งอาจารย์บอกว่าวิธีที่มีความเหมาะสมมากที่สุดก็คือ "การแกดงตารางเปรียบเทียบ" เพราะสามารถสื่อถึงสิ่งที่ต้องการแสดงให้เห็นได้มากที่สุด ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้
จากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษาในห้องช่วยกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนไปในอาทิตย์ที่แล้วโดยนำเสนอออกมาในรูบแบบของ "แผนผังความคิด"ซึงสาสามารถสรุปผลได้ดังนี้
จากนั้ันอาจารย์ก็ให้ดูวิดีโอเรื่อง ความลับของแสง สรุปได้ดังนี้
จากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษาในห้องช่วยกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนไปในอาทิตย์ที่แล้วโดยนำเสนอออกมาในรูบแบบของ "แผนผังความคิด"ซึงสาสามารถสรุปผลได้ดังนี้
ผลสรุปองค์ความรู้ |
จากนั้ันอาจารย์ก็ให้ดูวิดีโอเรื่อง ความลับของแสง สรุปได้ดังนี้
สรุปองค์ความรู้เรื่อความลับของแสง |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)