วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัย

          สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับวิจัย

ชื่่อวิจัย   ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย 


ปริญญานิพนธ์  ของ สํารวย สุขชัย


เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย   มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ตุลาคม 2554


 ความมุงหมายของการวิจัย 
         
1. เพื่อศึกษาระดับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย โดยรวมและจําแนก รายทักษะ กอนและหลังการจัดการเรียนรูตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
          
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย โดยรวมและจําแนก รายทักษะ กอนและหลังการจัดการเรียนรูตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รายทักษะ  
        
3. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยจําแนก

 
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้           


          เปนเด็กปฐมวัย ชายหญิง อายุระหวาง 5–6 ปที่กําลัง ศึกษาอยูในระดับชั้นอนุบาลปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553โรงเรียนวัดยางสุทธาราม แขวงบานชางหลอ เขตบางกอกนอย สังกัดสํานักการศึกษากรุงเทพมหานคร จํานวน 4 หองเรียน หองเรียนละ 30 คน รวมทั้งหมด 120 คน 



การเก็บรวบรวมขอมูล

          การวิจัยครั้งนี้ เก็บขอมูลดวยการสังเกตและใชแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทาง วิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย 2 ครั้ง คือ

1. ทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย กอนการทดลอง (Pretest) กับกลุมตัวอยาง จํานวน 27 คน 

2. ทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย หลังการทดลอง (Posttest) เปนการทดสอบเมื่อเสร็จสิ้นการจัดการเรียนรูตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดวยแบบทดสอบชุดเดียวกันกับที่ใชในการทดสอบกอนการทดลองเพื่อเปรียบเทียบการพัฒนา ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย

 
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย


1. แผนการจัดการเรียนรูตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอทักษะ พื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย

2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย


สรุปผลงานวิจัย          


          ผลการวิจัยพบวา เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดการเรียนรูตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีทักษะ พื้นฐานทางวิทยาศาสตรหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ. 01


แนวคิดในการจัดการเรียนรู้

 ทฤษฎีในการเรียนรู้

รูปแบบแผนผังความคิด
แผนผังความคิด